ห้องความรู้หนังสือสารานุกรมไทย
ห้องความรู้หนังสือสารานุกรมไทย
การแข่งขันตอบปัญหาสารานุกรมไทย ปี 2567 ระดับจังหวัด 14 พฤศจิกายน 2567
เล่มที่ ๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๑๖ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
ดวงอาทิตย์ | อุปราคา | ท้องฟ้ากลางคืน | นก | ปลา | เครื่องจักรกล | พลังงาน | อากาศยาน | ดนตรีไทย
เล่มที่ ๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๑๘ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การจำแนกและจัดลำดับหมวดหมู่ของสัตว์ | เวลา| บรรยากาศ | การตรวจอากาศ| อุตสาหกรรม | อุปกรณ์ขยายขอบเขตของสัมผัส | มหาราชในประวัติศาสตร์ไทย| การศึกษา | กรุงเทพมหานคร | ตราไปรษณียากรไทย
เล่มที่ ๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๐ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ข้าว| ข้าวโพด | ฝ้าย | ยางพารา | ทรัพยากรป่าไม้ | ผลิตผลป่าไม้| การทำไม้ | วัชพืช | วัวควาย | ช้าง
เล่มที่ ๔ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๑ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต| การหายใจ | ความสมดุลของของเหลวในร่างกาย | ไวรัส | ปรากฏการณ์ของอากาศ| ภูมิอากาศ | รถไฟ | การศาสนา| การต่างประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ | ลำดับพระมหากษัตริย์ไทย
เล่มที่ ๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๓ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง คือ
ผัก| ไม้ผล | อ้อย | มันสำปะหลัง | พืชหัว | การขยายพันธุ์พืช| เป็ดไก่| พันธุ์ไม้ป่า
เล่มที่ ๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๕ มีทั้งหมด ๑๕ เรื่อง คือ
คณิตศาสตร์เบื้องต้น | ประวัติและพัฒนาการเกี่ยวกับจำนวน | เซต | ตรรกวิทยา | ฟังก์ชัน | สมการและอสมการ | จุด เส้น และผิวโค้ง | ระยะทาง | พื้นที่ | ปริมาตร | สถิติ | ความน่าจะเป็น| เมตริก | กราฟ | คณิตศาสตร์ ธรรมชาติและศิลปะ
เล่มที่ ๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๕ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
กล้วยไม้| ผีเสื้อในประเทศไทย| การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม | โรคพืช | ครั่ง | การเลี้ยงปลา| การชลประทาน | บ้านเรือนของเรา| โทรคมนาคม(ภาคแรก)
เล่มที่ ๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๖ มีทั้งหมด ๗ เรื่อง คือ
ประวัติการแพทย์และเภสัชกรรมไทย | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา| การกำเนิดของโรค | การบริบาลทารกและโรคทางกุมารเวชศาสตร์ | ศัลยศาสตร์และวิสัญญีวิทยา | เลือดและธนาคารเลือดในประเทศไทย | อุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
เล่มที่ ๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๘ มีทั้งหมด ๑๓ เรื่อง คือ
เรื่องของยา | สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา | วิธีการทางการแพทย์ในการควบคุมการเจริญพันธุ์ | การทำแท้ง | การสาธารณสุข| โรคมะเร็ง | รังสีวิทยา| ฟันและเหงือกของเรา | เวชศาสตร์ชันสูตร | เวชศาสตร์ฟื้นฟู | นิติเวชศาสตร์ | โภชนาการ | ยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
เล่มที่ ๑๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๐ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
โรคทางอายุรศาสตร์ | โรคติดต่อและโรคเขตร้อน| โรคภูมิแพ้ | โรคผิวหนังที่พบบ่อยในประเทศไทย | โรคตา | โรคหู คอ จมูก | จิตเวชศาสตร์และสุขภาพจิต| สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ| การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ | การปลูกกระดูกข้ามคน
เล่มที่ ๑๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๑ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์| ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ | ระบบการสั่งงานคอมพิวเตอร์ | การประยุกต์คอมพิวเตอร์ | การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ | สิ่งประดิษฐ์จากพัฒนาการด้านคอมพิวเตอร์| หุ่นยนต์อุตสาหกรรม | ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ | การพัฒนาอักษรไทยในเครื่องคอมพิวเตอร์
เล่มที่ ๑๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๑ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การแพทย์| การศึกษา| การสังคมสงเคราะห์| การพัฒนาชาวเขาและการเกษตรที่สูง| การพัฒนาการเกษตรในชนบท| การศึกษาการพัฒนา| การสหกรณ์| การพัฒนาแหล่งน้ำ| การพัฒนาปัจจัยการผลิต| แผนที่
เล่มที่ ๑๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๒ มีทั้งหมด ๑๑ เรื่อง คือ
เรือนไทย| ชีวิตชนบทไทย | หัตถกรรมพื้นบ้าน | จิตรกรรมไทย| นาฏศิลป์ไทย | ตุ๊กตาไทย | การละเล่นของไทย | อาหารไทย | การประดิษฐ์ผักและผลไม้ | การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม| ธนาคาร
เล่มที่ ๑๔ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๓ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
พระราชวังในกรุงเทพมหานคร| พระราชวังในส่วนภูมิภาค | ประติมากรรมไทย| อาหารสัตว์ | พืชอาหารสัตว์ | การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ | ข้าวฟ่าง | เทคโนโลยีชีวภาพ | สารพิษและสิ่งปนเปื้อนอาหาร| สมุนไพร
เล่มที่ ๑๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๔ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ผึ้ง| การเลี้ยงผึ้งโพรงไทย | ยาสูบ | ไม้สัก | ผ้าไทย| ชุมชนโบราณในเมืองไทยจากหลักฐานภาพถ่ายทางอากาศ | น้ำเสีย | ขยะมูลฝอย | มลพิษทางอากาศ | สิ่งแวดล้อมระดับสากล
เล่มที่ ๑๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม | พระไตรปิฎกและการชำระพระไตรปิฎก| การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ | ศิลาจารึกและการอ่านจารึก | สังคมและวัฒนธรรมไทย| การผลิตหนังสือ | การดนตรีสำหรับเยาวชน | การช่างและหมู่บ้านช่าง| ดาวเทียมเพื่อการเกษตร | การฟื้นฟูสมรรถภาพเยาวชนผู้พิการทางด้านการศึกษา
เล่มที่ ๑๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๖ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ช้างเผือก | ฉันทลักษณ์ไทย| ระบบนิเวศและความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับสิ่งมีชีวิต | โรคตับอักเสบจากไวรัส | ของเสียที่เป็นอันตราย| การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ | ปอแก้วปอกระเจา | พืชเส้นใย | การปรับปรุงพันธุ์พืช | ข้าวสาลี
เล่มที่ ๑๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
สภาพแวดล้อมกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในประเทศไทย | ประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์| การแต่งกายของคนไทย| กฎหมายกับสังคมไทย| ประวัติการพิมพ์ไทย | ภาษาและอักษรไทย | ยาฆ่าแมลง | ดินและปุ๋ย| การเลี้ยงหมู| ระบบการค้าผลิตผลการเกษตร
เล่มที่ ๑๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | พืชน้ำมัน| การถนอมผลิตผลการเกษตร | ม้า | แมลง| เครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง | ศิลปะการนับเบื้องต้น | ภูมิปัญญาชาวบ้าน| สารกึ่งตัวนำ
เล่มที่ ๒๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๘ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ศาสนาและระบบความเชื่อในประเทศไทย | ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศ | จิตรกรรมไทยแบบประเพณี | เสียงและมลภาวะทางเสียง | เลเซอร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | อัญมณี| เวชศาสตร์การบิน | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์ | การปลูกถ่ายอวัยวะ
เล่มที่ ๒๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๙ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
กระบวนพยุหยาตรา| วีรสตรีไทย | ศิลปะการทอผ้าไทย | เครื่องถม| เครื่องปั้น | การตลาดและการส่งออกศิลปหัตถกรรม | พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน | การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ | องค์การสหประชาชาติและองค์การในเครือ
เล่มที่ ๒๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๐ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
ภาษาศาสตร์ | เครื่องถ้วยไทย| เครื่องจักสาน| ไม้ดอกหอมของไทย | เครื่องมือทุ่นแรงและเครื่องจักรกลการเกษตร | อาชีวอนามัย | ครอบครัวไทย | สัตว์ทะเลหน้าดิน | ท่าอากาศยาน
เล่มที่ ๒๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ภูมิปัญญาไทย | วัฒนธรรมทางละครไทย (ละครรำ) | การละเล่นพื้นเมือง | ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย | ชาติพันธุ์ | เฟิร์นไทย | ไม้ในวรรณคดีไทย(ตอน๑) | การทำงานใต้น้ำ | ระบบวิทยุ | การผลิตเบียร์
เล่มที่ ๒๔ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
วรรณคดีมรดก | ไม้ในวรรณคดีไทย (ตอน๒) | เมืองหลวงเก่าของไทย | การผลิตรถยนต์ | การผลิตรถจักรยานยนต์ | การผลิตปูนซีเมนต์ | ปิโตรเลียมและการผลิต | โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ | แผนพัฒนาประเทศ
เล่มที่ ๒๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๔ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
ซอฟต์แวร์พื้นฐานสำหรับสำนักงาน | ระบบฐานข้อมูล | วิวัฒนาการของไมโครคอมพิวเตอร์ | การพัฒนาซอฟต์แวร์ | โครงข่ายประสาทเทียม | อินเทอร์เน็ต | การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ | แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑
เล่มที่ ๒๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๕ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
นิทานพื้นบ้านไทย | ห้องสมุดเสียงแห่งแรกของไทย | ชุมชน | การใช้สื่อประสมส่งเสริมการศึกษา | เชื้อเพลิง ยานยนต์ และสิ่งแวดล้อม | การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ | ส้ม | สัตว์ในระบบนิเวศป่าชายเลน | หอยเป๋าฮื้อ
เล่มที่ ๒๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๖ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ลิเก | การบริหารราชการแผ่นดิน | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ | เทคนิคการผลิตไม้ผลนอกฤดู | ไฮโดรพอนิกส์ | พิษภัยของแอลกอฮอล์ | ผู้สูงอายุ | พลังงานนิวเคลียร์ | การปฏิวัติทางพันธุกรรม
เล่มที่ ๒๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๗ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
วัดไทย | ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน | ตลาด | ทุเรียน | เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร | พิษภัยของบุหรี่ | โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ | พลาสติกกับชีวิตในปัจจุบัน | แผ่นดินไหว
เล่มที่ ๒๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ศิลปาชีพ | พระพุทธรูป | การผลิตทองรูปพรรณ | อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย | สวนพฤกษศาสตร์ | เงินตรา | ปลาสวยงาม | ธาลัสซีเมีย | การดูแลสุขภาพที่บ้าน
เล่มที่ ๓๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ศิลปะการเห่เรือ | หอพระไตรปิฎก | ปราสาทขอมในประเทศไทย | กฎหมายตราสามดวง | ไม้ดอกหอมของไทย | กล้วย | ปลากัด | คลื่นสึนามิ | วัสดุการแพทย์
เล่มที่ ๓๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ตู้พระธรรม | วัดญวณในประเทศไทย | วรรณคดีท้องถิ่น | พรรคการเมืองไทย | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช | ซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย | ดาวหาง | ระบบสุริยะ | อัลไซเมอร์
เล่มที่ ๓๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ตาลปัตรพัดยศ และสมณศักดิ์ | หุ่นกระบอกไทย | หนังสือโบราณของไทย | สิทธิมนุษยชน | เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ | ชีวสนเทศศาสตร์ | การยศาสตร์ | นาโนเทคโนโลยี | โรคออทิซึม
เล่มที่ ๓๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
สุนทรภู่ | เพลงลูกทุ่ง | คลอง | วิวัฒนาการของมนุษย์ | เซลล์เชื้อเพลิง | เปลือกโลกและหิน | อาหารกับโรคเรื้อรัง | การแพทย์แผนไทย
เล่มที่ ๓๔ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๒ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ | เพลงพื้นบ้าน | ปริศนาคำทายของไทย | เครื่องประดับ | หอยในทะเลไทย | บริการธนาคารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ | พายุและฝนในประเทศไทย | โรคพาร์กินสัน | โรคฉี่หนู
เล่มที่ ๓๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๓ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
วัดจีน | สงกรานต์ | มวยไทย | โรคพืชและการจัดการด้วยวิธีชีวภาพ | มาตรวิทยา | การพยากรณ์อากาศ | โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์ | โรคเบาหวาน | โรคสะเก็ดเงิน
เล่มที่ ๓๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๔ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
มัสยิด | ละครชาตรี | เกวียน | ทองคำ | มะคาเดเมีย | หุ่นยนต์ | แอนิเมชัน | โรคมาลาเรีย | โรคไต
เล่มที่ ๓๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๕ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
พระเจดีย์ | หอศิลป์ | ศิลปินแห่งชาติ | ว่าว | หนังสือพิมพ์ | ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ | การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม | โรคเอสแอลอี | โรคไข้หวัดใหญ่
เล่มที่ ๓๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๖ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ลายไทย-ลายกระหนก | บายศรี | การอุดมศึกษา | แก้วมังกร | มะพร้าวน้ำหอม | การผลิตยารักษาโรค | รังสี | โรคกระดูกและข้อในเด็ก | โรคพันธุกรรมในเด็ก
เล่มที่ ๓๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๗ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
การศึกษาของสงฆ์ | เพลงกล่อมเด็ก | เรือไทย | ภูมิสถาปัตยกรรม | สบู่ดำ | การประปา | โรคเลือดออกง่ายฮีโมฟิเลีย | ศัลยกรรมตกแต่ง
เล่มที่ ๔๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
พิพิธภัณฑสถาน | รางวัลซีไรต์ | นกเงือกไทย | เห็ด | การโคลนนิ่งสัตว์ | แร่เหล็ก | การใช้เลเซอร์ในทางการแพทย์ | ไข้ออกผื่น | โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๔๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๙ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ประเพณีลอยกระทง | ละครดึกดำบรรพ์ | โนรา | ภูมิลักษณ์เด่นในประเทศไทย | ทะเลไทย | ชา |
วัสดุทางวิศวกรรมกับการกีฬา | เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ | โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๔๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๖๔ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ประเพณีของชาวไทยมุสลิม | หนังตะลุง | หญ้าแฝก | แมว | มลพิษของดินและการเกษตร | แสงซินโครตรอน | อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ | จิตวิทยาพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น | โรคมะเร็งในเด็ก
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๔๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๖๖ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
ประเพณีสิบสองเดือน | ชาวมอญในประเทศไทย | การศึกษาแบบวิถีไทย | กัญชงและกัญชา |
การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน | การบริหาจัดการลุ่มน้ำโดยชุมชน | ดาราจักร | โรคหลอดเลือดสมอง
รายชื่อผู้เขียน
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ โดยประมวลพระราชจริยาวัตร พระราชกรณียกิจ และพระปรีชาสามารถในด้านต่างๆ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและอาณาประชาราษฎร์ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
๑. ธรรมิกราชา
๒. พระปรีชาสามารถด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม
๓. เศรษฐกิจพอเพียง
๔. กษัตริย์-เกษตร
๕. พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
๖. พระปรีชาสามารถด้านการพัฒนาปัญญา
๗. อัครศิลปิน
๘. พระราชกรณียกิจด้านการสืบสานวัฒนธรรมและขนบประเพณี
๙. สังคมสมานฉันท์
สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากหนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ
หนังสือ สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทั้งหมด ๖๐ เรื่องโดยแบ่งเป็น ๙ หมวด คือ
หมวดที่ ๑ พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ
หมวดที่ ๒ พระราชวงค์
หมวดที่ ๓ องค์กรและส่วนราชการ
หมวดที่ ๔ มูลนิธิ ทุน รางวัล และโรงเรียน
หมวดที่ ๕ พระราชสถานะและพระราชอำนาจตามรัฐ ธรรมนูญ
หมวดที่ ๖ ราชธรรมและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศาสนา
หมวดที่ ๗ พระราชพิธีในรัชกาลปัจจุบัน
หมวดที่ ๘ พระบรมราชสัญลักษณ์และเรื่องราวเกี่ยว ข้อง
หมวดที่ ๙ เบ็ตเตล็ด
สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากหนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
ขอบคุณเครดิต ข้อมูลอ้างอิงจาก เว็บไซต์สารานุกรมไทย https://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file=encyclopedia/saranugrom.htm#special60
ประมวลภาพกิจกรรม